ฟลอปปีดิสก์
แผ่นดิสก์แบบอ่อน หรือ ฟลอปปีดิสก์ (อังกฤษ: floppy disk) หรือที่นิยมเรียกว่า แผ่นดิสก์ หรือ ดิสเกตต์ (diskette) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูล ที่อาศัยหลักการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็ก โดยทั่วไปมีลักษณะบางกลมและบรรจุอยู่ในแผ่นพลาสติกสี่เหลี่ยม คอมพิวเตอร์สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนฟลอปปีดิสก์ ผ่านทางฟลอปปีดิสก์ไดร์ฟ (floppy disk drive)
ประวัติ
แผ่นดิสก์ยุคแรก มีขนาด 8 นิ้ว สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1971 เพื่อใช้กับเครื่อง System/370 ของบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) สร้างโดย เดวิด โนเบิล ในทีมงานของ อะลัน ซูการ์ต ซึ่งต่อมา ซูการ์ตแยกตัวออกไปตั้งบริษัททำวิจัยเกี่ยวกับหน่วยความจำ ชื่อบริษัทซูการ์ต ในปี ค.ศ. 1973 แต่เพียงหนึ่งปีต่อมา บริษัทก็ขาดทุนและซูการ์ตก็ถูกไล่ออกจากบริษัทตัวเอง
นักวิจัยของบริษัทซูการ์ต ชื่อ จิม แอดคิสสัน ได้รับการติดต่อจาก An Wang เพื่อให้ลดขนาดแผ่นดิสก์ให้เล็กลง การติดต่อเกิดขึ้นที่บาร์ในบอสตัน และขนาดแผ่นดิสก์ใหม่ที่คุยกันคือขนาดเท่ากระดาษเช็ดมือในร้าน ซึ่งมีขนาด 5¼ นิ้ว ต่อมาไม่นาน บริษัทซูการ์ต ก็ผลิตแผ่นดิสก์ขนาดนี้ได้และได้รับความนิยม ในตอนแรก แผ่นมีความจุ 110 KB ต่อมา บริษัท Tandon พัฒนาให้ความจุสูงขึ้น โดยใช้วิธีเก็บข้อมูลสองหน้า (double density) ทำให้สามารถเก็บได้ 360 KB
แผ่นดิสก์เป็นที่นิยมในท้องตลาดอย่างสูง ทำให้หลายๆ บริษัททุ่มทุนวิจัยทางด้านนี้. ในปี ค.ศ. 1984 บริษัทแอปเปิล ผลิตเครื่องที่ใช้แผ่นดิสก์ขนาด 3½ นิ้วของบริษัทโซนี่ และผลักดันให้แผ่น 3½ นิ้ว เป็นมาตรฐานในวงการอุตสาหกรรมของอเมริกา ความจุเริ่มแรกของแผ่นดิสก์ขนาด 3½ นิ้ว คือ 360 KB สำหรับหน้าเดียว (single density) และ 720 KB สำหรับสองหน้า และต่อมาก็สามารถเพิ่มความจุเป็น 1.44 MB โดยการเพิ่มความจุต่อหน้า (high-density) ต่อมา ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็พบวิธีทำให้มีความจุเป็น 2.88 MB (extended-density) โดยการเปลี่ยนวิธีการเคลือบแผ่น แต่รุ่นสุดท้ายนี้ไม่ได้รับความนิยม เพราะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในขณะนั้น ต้องการความจุที่สูงกว่านี้ แผ่นดิสก์จึงถูกแทนที่ด้วยหน่วยจัดเก็บข้อมูลแบบอื่นไป เช่น ซีดีรอม และ ดีวีดีรอม
วันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2553
เครื่องพิมพ์ (Printer)
เครื่องพิมพ์ (Printer)
เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์โดยผ่านพอร์ตขนานที่มีขนาด 25 พิน เพื่อทำหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการ ประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปของอักษร หรือรูปภาพที่จะไปปรากฏอยู่บนกระดาษ เครื่องพิมพ์แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1. เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ (Dot Matrix Printer)
เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์นี้ใช้หลักการสร้างจุด ลงบน กระดาษโดยตรง หัวพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ มีลักษณะเป็นหัวเข็ม (pin) เมื่อต้องการพิมพ์สิ่งใดลงบนกระดาษ หัวเข็มที่อยู่ในตำแหน่งที่ประกอบกันเป็น ข้อมูลดังกล่าวจะยื่นลำหน้าหัวเข็มอื่น เพื่อไปกระแทกผ่านผ้าหมึก ลงบนกระดาษ ก็จะทำให้เกิดจุดความคมชัดของข้อมูลบน กระดาษขึ้นอยู่กับจำนวนจุด ถ้าจำนวนจุดยิ่งมากข้อมูลที่พิมพ์ลงบนกระดาษก็ยิ่งคมชัดมากขึ้น เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เหมาะสำหรับงานที่พิมพ์แบบฟอร์มที่ต้องการซ้อนแผ่นก๊อปปี้ หลาย ๆ ชั้น เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ ใช้กระดาษต่อเนื่องในการพิมพ์ เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะยัง คงมีใช้อยู่ตามองค์กรราชการ
2. เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink-Jet Printer)
เครื่องพิมพ์พ่นหมึก สามารถพิมพ์ตัวอักษรที่มีรูปแบบ และขนาดที่แตกต่างกันมาก ๆ รวมไปถึง พิมพ์งานกราฟิกที่ให้ผลลัพธ์ คมชัดกว่าเครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เทคโนโลยีที่เครื่องพิมพ์พ่นเป็น การพ่นหมึกหยดเล็ก ๆ ไปที่กระดาษ หยดหมึกจะมีขนาดเล็กมาก แต่ละจุดจะอยู่ในตำแหน่งที่เมื่อประกอบกันแล้วจะเป็นตัวอักษร หรือรูปภาพตามความต้องการ การพิมพ์แบบนี้จะพิมพ์แบบซ้อนแผ่นก๊อปปี้ไม่ได้ แต่มีความสามารถพิมพ์ได้รวดเร็วและเสียงไม่ดัง มีหน่วยวัดความเร็วเป็นในการพิมพ์เป็นหน้าต่อนาที PPM (Page Per Minute) ความสามารถของเครื่องพิมพ์ประเภทนี้ถูกพัฒนามาให้มีประสิทธ์ขึ้นเลื่อยๆ นั้นขึ้นอยู่กับการใช้งาน แต่ต้องมีกระดาษที่ใช้พิมพ์เป็นปัจจัยด้วยเช่นกัน ณ ปัจจุบัน(2545)ความสามารถของเครื่องพิมพ์น้นสูงสุดถึง 4800x1200 dpi (Dot per inch)
3. เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer)
เครื่องพิมพ์ชนิดนี้อาศัยเทคโนโลยีไฟฟ้าสถิตย์เบบเดียวกันกับเครื่อง ถ่ายเอกสารทั่วไปโดยลำแสง จากไดโอดเลเซอร์จะฉายไปยังกระจกหมุน เพื่อสะท้อนไปยังลูกกลิ้งไวแสง ซึ่งจะปรับตามสัญญาณภาพหรือตัวอักษรที่ได้รับจากคอมพิวเตอร์ และกวาดตามแนวยาวของลูกกลิ้งอย่างรวดเร็ว สารเคลือบที่อยู่บนลูกกลิ้งจะ ไปทำปฎิกิริยากับแสงแล้วเปลี่ยนเป็นประจุไฟฟ้าสถิตย์ ซึ่งทำให้ผงหมึกเกาะติดกับพื้นที่ที่มีประจุ เมื่อกระดาษพิมพ์หมุนผ่านลูกกลิ้ง ความร้อนจะทำให้ผงหมึกหลอมละลาย ติดกับกระดาษได้ภาพหรือตัวอักษร เนื่องจากลำแสงเลเซอร์ได้รับการควบคุมอย่างถูกต้อง ทำให้ความละเอียดของจุดภาพบนกระดาษสูงมาก งานพิมพ์จึงมีคุณภาพสูงทำให้ได้ภาพ และตัวหนังสือที่คมชัดสวยงาม การพิมพ์ของเครื่องพิมพ์เลเซอร์เสียงจะไม่ดัง
4. พล็อตเตอร์ (plotter)
พล็อตเตอร์ เป็นเครื่องพิมพ์ชนิดที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ลงบนกระดาษที่ทำมาเฉพาะงานเหมาะสำหรับงานเกี่ยวกับการเขียนแบบทางวิศวกรรม และงานตกแต่งภายใน ใช้สำหรับวิศวกรรมและสถาปนิก พล็อตเตอร์ทำงานโดยใช้วิธีเลื่อนกระดาษ โดยสามารถใช้ปากกาได้ 6-8 สี ความเร็วในการทำงานของ พล็อตเตอร์มีหน่วยวัดเป็นนิ้วต่อวินาที (Inches Per Second : IPS) ซึ่งหมายถึงจำนวนนิ้วที่พล็อตเตอร์สามารถ เลื่อนปากกาไปบนกระดาษ
กระดาษที่ใช้พิมพ์
กระดาษที่ใช้พิมพ์นั้นจะถูกเรียกตามนำหนักเช่น 70 แกรมนั้นคือ 70 เป็นแกรมต่อตารางเมตรซึ่งสามารถแบ่งได้ตามการใช้งานดังนี้
Plain Paper เป็นกระดาษทั่วไปที่มีตามร้านเครื่องเขียน มีขนาดที่นิยมใช้ คือ 70 หรือ 80 แกรม
กระดาษมัน Glossy Paper เป็นกระดาษมัน มีขนาดเริ่มต้นที่ 90 แกรม รองรับการพิมพ์ที่ 1440 dpi - 2880 dpi โดยน้ำหมึกจะไม่ซึมไปด้านหลังกระดาษ
กระดาษแบบด้าน Matte Finish Paper ไว้สำหรับพิมพ์ภาพกราฟฟิก มีคุณสมบัติกันน้ำ ไม่สะท้อนแสง
กระดาษโฟโต้ Photo Paper ใช้กับการพิมพ์ภาพถ่ายที่มาจากกล้องดิจิตอล มีความหน้าและกันน้ำได้ รองรับความระเอียดถึง 2880 dpi
เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์โดยผ่านพอร์ตขนานที่มีขนาด 25 พิน เพื่อทำหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการ ประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปของอักษร หรือรูปภาพที่จะไปปรากฏอยู่บนกระดาษ เครื่องพิมพ์แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1. เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ (Dot Matrix Printer)
เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์นี้ใช้หลักการสร้างจุด ลงบน กระดาษโดยตรง หัวพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ มีลักษณะเป็นหัวเข็ม (pin) เมื่อต้องการพิมพ์สิ่งใดลงบนกระดาษ หัวเข็มที่อยู่ในตำแหน่งที่ประกอบกันเป็น ข้อมูลดังกล่าวจะยื่นลำหน้าหัวเข็มอื่น เพื่อไปกระแทกผ่านผ้าหมึก ลงบนกระดาษ ก็จะทำให้เกิดจุดความคมชัดของข้อมูลบน กระดาษขึ้นอยู่กับจำนวนจุด ถ้าจำนวนจุดยิ่งมากข้อมูลที่พิมพ์ลงบนกระดาษก็ยิ่งคมชัดมากขึ้น เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เหมาะสำหรับงานที่พิมพ์แบบฟอร์มที่ต้องการซ้อนแผ่นก๊อปปี้ หลาย ๆ ชั้น เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ ใช้กระดาษต่อเนื่องในการพิมพ์ เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะยัง คงมีใช้อยู่ตามองค์กรราชการ
2. เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink-Jet Printer)
เครื่องพิมพ์พ่นหมึก สามารถพิมพ์ตัวอักษรที่มีรูปแบบ และขนาดที่แตกต่างกันมาก ๆ รวมไปถึง พิมพ์งานกราฟิกที่ให้ผลลัพธ์ คมชัดกว่าเครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เทคโนโลยีที่เครื่องพิมพ์พ่นเป็น การพ่นหมึกหยดเล็ก ๆ ไปที่กระดาษ หยดหมึกจะมีขนาดเล็กมาก แต่ละจุดจะอยู่ในตำแหน่งที่เมื่อประกอบกันแล้วจะเป็นตัวอักษร หรือรูปภาพตามความต้องการ การพิมพ์แบบนี้จะพิมพ์แบบซ้อนแผ่นก๊อปปี้ไม่ได้ แต่มีความสามารถพิมพ์ได้รวดเร็วและเสียงไม่ดัง มีหน่วยวัดความเร็วเป็นในการพิมพ์เป็นหน้าต่อนาที PPM (Page Per Minute) ความสามารถของเครื่องพิมพ์ประเภทนี้ถูกพัฒนามาให้มีประสิทธ์ขึ้นเลื่อยๆ นั้นขึ้นอยู่กับการใช้งาน แต่ต้องมีกระดาษที่ใช้พิมพ์เป็นปัจจัยด้วยเช่นกัน ณ ปัจจุบัน(2545)ความสามารถของเครื่องพิมพ์น้นสูงสุดถึง 4800x1200 dpi (Dot per inch)
3. เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer)
เครื่องพิมพ์ชนิดนี้อาศัยเทคโนโลยีไฟฟ้าสถิตย์เบบเดียวกันกับเครื่อง ถ่ายเอกสารทั่วไปโดยลำแสง จากไดโอดเลเซอร์จะฉายไปยังกระจกหมุน เพื่อสะท้อนไปยังลูกกลิ้งไวแสง ซึ่งจะปรับตามสัญญาณภาพหรือตัวอักษรที่ได้รับจากคอมพิวเตอร์ และกวาดตามแนวยาวของลูกกลิ้งอย่างรวดเร็ว สารเคลือบที่อยู่บนลูกกลิ้งจะ ไปทำปฎิกิริยากับแสงแล้วเปลี่ยนเป็นประจุไฟฟ้าสถิตย์ ซึ่งทำให้ผงหมึกเกาะติดกับพื้นที่ที่มีประจุ เมื่อกระดาษพิมพ์หมุนผ่านลูกกลิ้ง ความร้อนจะทำให้ผงหมึกหลอมละลาย ติดกับกระดาษได้ภาพหรือตัวอักษร เนื่องจากลำแสงเลเซอร์ได้รับการควบคุมอย่างถูกต้อง ทำให้ความละเอียดของจุดภาพบนกระดาษสูงมาก งานพิมพ์จึงมีคุณภาพสูงทำให้ได้ภาพ และตัวหนังสือที่คมชัดสวยงาม การพิมพ์ของเครื่องพิมพ์เลเซอร์เสียงจะไม่ดัง
4. พล็อตเตอร์ (plotter)
พล็อตเตอร์ เป็นเครื่องพิมพ์ชนิดที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ลงบนกระดาษที่ทำมาเฉพาะงานเหมาะสำหรับงานเกี่ยวกับการเขียนแบบทางวิศวกรรม และงานตกแต่งภายใน ใช้สำหรับวิศวกรรมและสถาปนิก พล็อตเตอร์ทำงานโดยใช้วิธีเลื่อนกระดาษ โดยสามารถใช้ปากกาได้ 6-8 สี ความเร็วในการทำงานของ พล็อตเตอร์มีหน่วยวัดเป็นนิ้วต่อวินาที (Inches Per Second : IPS) ซึ่งหมายถึงจำนวนนิ้วที่พล็อตเตอร์สามารถ เลื่อนปากกาไปบนกระดาษ
กระดาษที่ใช้พิมพ์
กระดาษที่ใช้พิมพ์นั้นจะถูกเรียกตามนำหนักเช่น 70 แกรมนั้นคือ 70 เป็นแกรมต่อตารางเมตรซึ่งสามารถแบ่งได้ตามการใช้งานดังนี้
Plain Paper เป็นกระดาษทั่วไปที่มีตามร้านเครื่องเขียน มีขนาดที่นิยมใช้ คือ 70 หรือ 80 แกรม
กระดาษมัน Glossy Paper เป็นกระดาษมัน มีขนาดเริ่มต้นที่ 90 แกรม รองรับการพิมพ์ที่ 1440 dpi - 2880 dpi โดยน้ำหมึกจะไม่ซึมไปด้านหลังกระดาษ
กระดาษแบบด้าน Matte Finish Paper ไว้สำหรับพิมพ์ภาพกราฟฟิก มีคุณสมบัติกันน้ำ ไม่สะท้อนแสง
กระดาษโฟโต้ Photo Paper ใช้กับการพิมพ์ภาพถ่ายที่มาจากกล้องดิจิตอล มีความหน้าและกันน้ำได้ รองรับความระเอียดถึง 2880 dpi
วันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2553
CD-ROM
CD-ROM
ความเป็นมาของ ซีดีรอม
ซีดีรอม (CD-ROM : Compact Disc-Read Only Memory )มีจุดเริ่มต้นในปี 1978 เมื่อบริษัทฟิลิปส์ (Philips) และโซนี่ (Sony)ได้ร่วมมือกันที่จะผลิตคอมแพคดิสก์สำหรับบันทึกเสียง (CD) ซึ่งในขณะนั้นฟิลิปป์ได้พัฒนาเครื่องเล่นเลเซอร์ดิสก์ออกวางจำหน่ายแล้ว และขณะเดียวกันโซนี่ก็ได้ทำการวิจัยการบันทึกเสียงแบบดิจิทัลมานานนับสิบปี ในตอนแรกต่างฝ่ายต่างจะกำหนดมาตรฐานคอมแพคดิสก์ที่จะออกวางจำหน่าย แต่ท้ายที่สุดทั้งสองบริษัทก็ได้ตกลงที่จะกำหนดมาตรฐานร่วมกัน โดยในปี 1982 ทั้งสองบริษัทได้กำหนดมาตรฐานของซีดีรวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการบันทึกเสียง วิธีการอ่านซีดีและขนาดของซีดี โดยกำหนดเป็น 5 นิ้ว ซึ่งกล่าวกันว่าการที่กำหนดขนาดของแผ่นดิสก์เป็น 5 นิ้วนั้นก็เพราะว่าแผ่นดิสก์ขนาดนี้สามารถบรรจุซิมโฟนี่หมายเลข 9 ของบีโธเฟนได้ ทั้งสองบริษัทยังคงร่วมมือกันตลอดทศวรรษ 1970 ได้มีการกำหนดรายละเอียดเพิ่มเติมในการใช้เทคโนโลยีของซีดี กับข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำให้มีการพัฒนาวีดีรอมที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านแผ่นซีดีรอม ก็คือ เครื่องอ่านซีดีรอม (CD-ROM DRIVES) ซึ่งในปัจจุบันเป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมี ในอดีตนั้นซีดีรอมใช้เพื่อเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งการบันทึกไว้ในแผ่นฟลอปปี้ดิสก์จะต้องใช้ฟลอปปี้ดิสก์เป็นจำนวนมาก ซีดีรอมจึงเป็นที่นิยมในการเป็นสื่อบันทึกข้อมูล ปัจจุบันเครื่องอ่านซีดีรอมได้เปลี่ยนแปลงจุดประสงค์ในการใช้จากเดิมเพื่อใช้งานบันทึกข้อมูลเป็นส่วนใหญ่ กลายมาเป็นเพื่อความบันเทิงในการดูหนังฟังเพลง เครื่องอ่านซีดีรอมในปัจจุบันมีราคาถูกลงอย่างมาก มันจึงกลายเป็นอุปกรณ์และกลายเป็นสื่อที่ผู้ผลิตอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใช้ในการบันทึกข้อมูล และซอฟต์แวร์ต่างๆเพื่อจำหน่ายและแจกจ่ายให้กับลูกค้าของตนเนื่องจากความจุที่มากกว่าและราคาที่ถูกกว่า
กลับด้านบน
การทำงานของเครื่องซีดีรอม
เครื่องซีดีรอมมีส่วนประกอบภายในที่ทำหน้าที่ดังนี้
1. ตัวกำเนิดเลเซอร์ เป็นแหล่งกำเนิดความเข้มต่ำและส่งไปยังกระจกสะท้อนเลเซอร์
2. เซอร์โวมอเตอร์ ทำหน้าที่ปรับให้เลเซอร์ตกลงแทร็กที่ต้องการด้วยการรับคำสั่งจากไมโครโปรเซสเซอร์ และมีหน้าที่ปรับมุมของกระจกสะท้อนเลเซอร์ด้วย
3. เมื่อเลเซอร์กระทบดิสก์ จะมีการหักเหไปยังเลนส์ที่อยู่ด้านใต้ของดิสก์จากนั้นสะท้อนไปยังเครื่องแยกลำแสง
4. เครื่องแยกแสงจะส่งเลเซอร์ไปยังอีกเลนส์หนึ่ง
5. เลนส์อันสุดท้ายจะส่งเลเซอร์ไปยังเครื่องตรวจจับแสงที่เปลี่ยนคลื่นแสงเป็นสัญญาณไฟฟ้า
6. ไมโครโปรเซสเซอร์จะแผลงสัญญาณที่ได้รับและส่งเป็นข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
กลับด้านบน
การเลือกซื้อเครื่องอ่านซีดีรอม
ต้องพิจารณาข้อมูลทางเทคนิคของเครื่องซีดีรอม โดยพิจารณาในด้านต่อไปนี้
ข้อมูลทางเทคนิคของเครื่องอ่านซีดีรอมที่ควรพิจารณาก่อนการเลือกซื้อเครื่องอ่านซีดีรอม
เครื่องมือทางเทคนิคของเครื่องซีดีรอมจะบอกเกี่ยวกับความสามารถของเครื่องซีดีรอม ซึ่งเปรียบกับความสามารถของเครื่องอ่านซีดีรอม โดยทั่วไปแล้วข้อมูลทางเทคนิคของเครื่องซีดีรอมจะบอกให้ทราบลักษณะและประสิทธิภาพของเครื่อง ซึ่งจะมีข้อมูลทางเทคนิคอยู่ 4 อย่างด้วยกันคือ อัตราการถ่ายทอดข้อมูล เวลาในการเข้าถึงข้อมูล บัฟเฟอร์(ถ้ามี) และชนิดของอินเตอร์เฟชที่ใช้
อัตราการถ่ายทอดข้อมูล(Data Transfer Rate)
เป็นสิ่งที่บอกถึงจำนวนข้อมูลที่เครื่องอ่านซีดีรอมอ่านข้อมูลในแผ่นซีดีรอมและส่งข้อมูลจุดนั้นให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ใช้วัดอัตราถ่ายทอดข้อมูลที่เป็นมาตรฐานคือกิโลไบต์ต่อวินาที(kb/s) อัตราการถ่ายทอดข้อมูลเป็นการวัดประสิทธิภาพสูงสุดที่เครื่องทำงานได้ เครื่องที่มีตัวเลขอัตราการถ่ายทอดข้อมูลมากยิ่งดี
เวลาในการเข้าถึงข้อมูล (Access Time)
เวลาในการเข้าถึงข้อมูลของเครื่องซีดีรอม ก็มีการวัดที่เหมือนกับการวัดเวลาที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลของฮาร์ดดิสก์ คำจำกัดความอีกคำหนึ่งของเวลาในการเข้าถึงข้อมูลคือ เวลาระหว่างที่เวลาเครื่องได้รับคำสั่งในการอ่านข้อมูลและเวลาที่เครื่องเริ่มอ่านข้อมูลที่ต้องการ เวลาที่ใช้จะถูกบันทึกในหน่วยของมิลลิวินาที (ms) เวลาที่เครื่องใช้สำหรับเริ่มอ่านข้อมูลจากส่วนต่างๆของดิสก์เรียกว่า อัตราการเข้าถึงข้อมูลเฉลี่ย (Average Access Rate) เวลาในการเข้าถึงข้อมูลเฉลี่ยของซีดีรอมนั้นอยู่ในช่วง 500 ถึง 200 มิลลิวินาที ซึ่งช้ากว่าของฮาร์ดดิสก์(ฮาร์ดดิสก์ทั่วไปจะใช้เวลาประมาณ 20 มิลลิวินาที)
บัฟเฟอร์(Buffer)
เครื่องซีดีรอมบางเครื่องจะมีบัฟเฟอร์อยู่ภายในเครื่อง บัฟเฟอร์เป็นหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องวีดีรอม ใช้สำหรับเก็บข้อมูลให้มีจำนวนมากพอก่อนที่จะส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ ตามปกติเครื่องซีดีรอมมีบัฟเฟอร์ขนาด 64 กิโลไบต์
ข้อดีของการมีบัฟเฟอร์คือ
1. ทำให้คอมพิวเตอร์ได้รับข้อมูลในอัตราคงที่
2. ทำให้เข้าถึงข้อมูลได้เร็วขึ้น
อินเตอร์เฟช(Interface)
อินเตอร์เฟชสำหรับเครื่องซีดีรอมใช้สำหรับการต่อสายสัญญาณระหว่างเครื่องซีดีรอมกับคอมพิวเตอร์ จึงมีความสำคัญสำหรับการถ่ายทอดข้อมูลจากเครื่องซีดีรอมไปยังคอมพิวเตอร์
- อินเตอร์เฟช SCSI (Small Computer System Interface)แบบมาตรฐาน หมายถึงการ์ดที่สามารถใช้กำลังมาตรฐานชุดเดียวกันกับอุปกรณ์เพิ่มเติมได้หลายชนิด การ์ดอะแด๊ปเตอร์เหล่านี้ทำให้ใช้อุปกรณ์ต่อเพิ่มได้หลายตัวโดยใช้การ์ดเพียงอันเดียว ทำให้ลดความยุ่งยากจากการเพิ่มการ์ดในกรณีที่มีอุปกรณ์ต่อเพิ่มใหม่ ด้วยข้อดีนี้ทำให้การ์ดแบบ SCSI เป็นที่นิยมในการต่ออุปกรณ์ต่อเพิ่ม เช่นการต่อเครื่องซีดีรอมกับคอมพิวเตอร์
- SCSI-2 และ ASPI SCSI แบบมาตรฐานจะมี่สามารถใช้งานกับอุปกรณ์ต่อพ่วงตัวอื่นที่มีจำหน่ายทีหลังได้ จึงต้องมีการปรับปรุงการ์ด SCSI-2 ซึ่งมีสิ่งปรับปรุงเพิ่มคือ
SCSI Fast มีความเร็วเป็นพิเศษ
SCSI Wide ขยายขนาดของบัสส่งข้อมูล ทำให้การถ่ายทอดข้อมูลผ่านการ์ดได้มากขึ้น
Scatter/Gather ทำให้การอ่านและการบันทึกข้อมูลมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ส่วน ASPI(Advance SCSI Programming Interface) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การพัฒนาไดร์ฟเวอร์สำหรับฮาร์ดแวร์ตามมาตรฐาน SCI ทำได้ง่ายขึ้นนอกจากข้อมูลทางเทคนิคแล้วการตัดสินใจซื้อเครื่องอ่านซีดีรอมต้องพิจารณาปัจจัยอื่นๆด้วยดังนี้
ปัจจัยที่ควรพิจารณานอกเหนือจากปัจจัยทางเทคนิคในการเลือกซื้อเครื่องซีดีรอม
ตัวเครื่อง
ฝุ่นจัดเป็นศรัตตรูร้ายสำหรับเครื่องซีดีรอม ผู้ผลิตบางรายป้องกันด้วยการแยกส่วนที่เป็นเลนส์ออกจากส่วนที่ใช้ใส่ซีดี บางรายอาจมีช่องกักฝุ่นสองช่องทั้งทางเข้าและทางออกอุปกรณ์เหล่านี้มีส่วนช่วยยืดอายุของเครื่องได้
แคดดี้เป็นอุปกรณ์สำหรับใส่ซีดีรอมการใช้แคดดี้มีทั้งข้อดีและข้อเสีย
- เครื่องที่ไม่มีแคดดี้ จะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการใส่ซีดีในแคดดี้ก่อนใส่ซีดีเข้าเครื่อง แต่มีข้อควรระวังอยู่สองประการคือ ต้องแน่ใจว่าส่วนที่เป็นลิ้นชักของเครื่องที่ใช้สำหรับใส่ซีดีนั้นสะอาดไม่มีฝุ่น และถ้าหากกลไกของลิ้นชักเสียต้องส่งเครื่องซีดีรอมเข้าซ่อมทั้งเครื่อง
- เครื่องที่มีแคดดี้ ข้อเสียคือจะทำให้เสียเวลาในการนำซีดีเข้าออก ข้อดีคือทำความสะอาดได้ง่ายและเมื่อแคดดี้ชำรุดก็เปลี่ยนใหม่ได้
ระบบทำความสะอาดเลนส์โดยอัตโนมัติ
ปัจจุบันเครื่องซีดีรอมบางรุ่นมีการติดตั้งกลไกทำความสะอาดเลนส์โดยอัตโนมัติ ถ้าไม่ค่อยมีเวลาทำความสะอาดควรพิจารณาเครื่องที่มีระบบทำความสะอาดเลนส์โดยอัตโนมัติ
เครื่องแบบติดตั้งภายในกับเครื่องต่อพ่วง
หากมีพื้นที่ทำงานบนโต๊ะทำงานและมีอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นก็ควรซื้อเครื่องซีดีรอมแบบต่อพ่วงเพราะจะสามารถย้ายได้และสามารถต่อกับคอมพิวเตอร์ได้หลายเครื่อง แต่หากไม่ค่อยมีพื้นที่ว่างบนโต๊ะทำงานและมีอุปกรณ์ภายในที่ใช้อะแด๊ปเตอร์อยู่แล้วก็ควรใช้แบบติดตั้งในเครื่อง
ความเป็นมาของ ซีดีรอม
ซีดีรอม (CD-ROM : Compact Disc-Read Only Memory )มีจุดเริ่มต้นในปี 1978 เมื่อบริษัทฟิลิปส์ (Philips) และโซนี่ (Sony)ได้ร่วมมือกันที่จะผลิตคอมแพคดิสก์สำหรับบันทึกเสียง (CD) ซึ่งในขณะนั้นฟิลิปป์ได้พัฒนาเครื่องเล่นเลเซอร์ดิสก์ออกวางจำหน่ายแล้ว และขณะเดียวกันโซนี่ก็ได้ทำการวิจัยการบันทึกเสียงแบบดิจิทัลมานานนับสิบปี ในตอนแรกต่างฝ่ายต่างจะกำหนดมาตรฐานคอมแพคดิสก์ที่จะออกวางจำหน่าย แต่ท้ายที่สุดทั้งสองบริษัทก็ได้ตกลงที่จะกำหนดมาตรฐานร่วมกัน โดยในปี 1982 ทั้งสองบริษัทได้กำหนดมาตรฐานของซีดีรวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการบันทึกเสียง วิธีการอ่านซีดีและขนาดของซีดี โดยกำหนดเป็น 5 นิ้ว ซึ่งกล่าวกันว่าการที่กำหนดขนาดของแผ่นดิสก์เป็น 5 นิ้วนั้นก็เพราะว่าแผ่นดิสก์ขนาดนี้สามารถบรรจุซิมโฟนี่หมายเลข 9 ของบีโธเฟนได้ ทั้งสองบริษัทยังคงร่วมมือกันตลอดทศวรรษ 1970 ได้มีการกำหนดรายละเอียดเพิ่มเติมในการใช้เทคโนโลยีของซีดี กับข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำให้มีการพัฒนาวีดีรอมที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านแผ่นซีดีรอม ก็คือ เครื่องอ่านซีดีรอม (CD-ROM DRIVES) ซึ่งในปัจจุบันเป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมี ในอดีตนั้นซีดีรอมใช้เพื่อเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งการบันทึกไว้ในแผ่นฟลอปปี้ดิสก์จะต้องใช้ฟลอปปี้ดิสก์เป็นจำนวนมาก ซีดีรอมจึงเป็นที่นิยมในการเป็นสื่อบันทึกข้อมูล ปัจจุบันเครื่องอ่านซีดีรอมได้เปลี่ยนแปลงจุดประสงค์ในการใช้จากเดิมเพื่อใช้งานบันทึกข้อมูลเป็นส่วนใหญ่ กลายมาเป็นเพื่อความบันเทิงในการดูหนังฟังเพลง เครื่องอ่านซีดีรอมในปัจจุบันมีราคาถูกลงอย่างมาก มันจึงกลายเป็นอุปกรณ์และกลายเป็นสื่อที่ผู้ผลิตอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใช้ในการบันทึกข้อมูล และซอฟต์แวร์ต่างๆเพื่อจำหน่ายและแจกจ่ายให้กับลูกค้าของตนเนื่องจากความจุที่มากกว่าและราคาที่ถูกกว่า
กลับด้านบน
การทำงานของเครื่องซีดีรอม
เครื่องซีดีรอมมีส่วนประกอบภายในที่ทำหน้าที่ดังนี้
1. ตัวกำเนิดเลเซอร์ เป็นแหล่งกำเนิดความเข้มต่ำและส่งไปยังกระจกสะท้อนเลเซอร์
2. เซอร์โวมอเตอร์ ทำหน้าที่ปรับให้เลเซอร์ตกลงแทร็กที่ต้องการด้วยการรับคำสั่งจากไมโครโปรเซสเซอร์ และมีหน้าที่ปรับมุมของกระจกสะท้อนเลเซอร์ด้วย
3. เมื่อเลเซอร์กระทบดิสก์ จะมีการหักเหไปยังเลนส์ที่อยู่ด้านใต้ของดิสก์จากนั้นสะท้อนไปยังเครื่องแยกลำแสง
4. เครื่องแยกแสงจะส่งเลเซอร์ไปยังอีกเลนส์หนึ่ง
5. เลนส์อันสุดท้ายจะส่งเลเซอร์ไปยังเครื่องตรวจจับแสงที่เปลี่ยนคลื่นแสงเป็นสัญญาณไฟฟ้า
6. ไมโครโปรเซสเซอร์จะแผลงสัญญาณที่ได้รับและส่งเป็นข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
กลับด้านบน
การเลือกซื้อเครื่องอ่านซีดีรอม
ต้องพิจารณาข้อมูลทางเทคนิคของเครื่องซีดีรอม โดยพิจารณาในด้านต่อไปนี้
ข้อมูลทางเทคนิคของเครื่องอ่านซีดีรอมที่ควรพิจารณาก่อนการเลือกซื้อเครื่องอ่านซีดีรอม
เครื่องมือทางเทคนิคของเครื่องซีดีรอมจะบอกเกี่ยวกับความสามารถของเครื่องซีดีรอม ซึ่งเปรียบกับความสามารถของเครื่องอ่านซีดีรอม โดยทั่วไปแล้วข้อมูลทางเทคนิคของเครื่องซีดีรอมจะบอกให้ทราบลักษณะและประสิทธิภาพของเครื่อง ซึ่งจะมีข้อมูลทางเทคนิคอยู่ 4 อย่างด้วยกันคือ อัตราการถ่ายทอดข้อมูล เวลาในการเข้าถึงข้อมูล บัฟเฟอร์(ถ้ามี) และชนิดของอินเตอร์เฟชที่ใช้
อัตราการถ่ายทอดข้อมูล(Data Transfer Rate)
เป็นสิ่งที่บอกถึงจำนวนข้อมูลที่เครื่องอ่านซีดีรอมอ่านข้อมูลในแผ่นซีดีรอมและส่งข้อมูลจุดนั้นให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ใช้วัดอัตราถ่ายทอดข้อมูลที่เป็นมาตรฐานคือกิโลไบต์ต่อวินาที(kb/s) อัตราการถ่ายทอดข้อมูลเป็นการวัดประสิทธิภาพสูงสุดที่เครื่องทำงานได้ เครื่องที่มีตัวเลขอัตราการถ่ายทอดข้อมูลมากยิ่งดี
เวลาในการเข้าถึงข้อมูล (Access Time)
เวลาในการเข้าถึงข้อมูลของเครื่องซีดีรอม ก็มีการวัดที่เหมือนกับการวัดเวลาที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลของฮาร์ดดิสก์ คำจำกัดความอีกคำหนึ่งของเวลาในการเข้าถึงข้อมูลคือ เวลาระหว่างที่เวลาเครื่องได้รับคำสั่งในการอ่านข้อมูลและเวลาที่เครื่องเริ่มอ่านข้อมูลที่ต้องการ เวลาที่ใช้จะถูกบันทึกในหน่วยของมิลลิวินาที (ms) เวลาที่เครื่องใช้สำหรับเริ่มอ่านข้อมูลจากส่วนต่างๆของดิสก์เรียกว่า อัตราการเข้าถึงข้อมูลเฉลี่ย (Average Access Rate) เวลาในการเข้าถึงข้อมูลเฉลี่ยของซีดีรอมนั้นอยู่ในช่วง 500 ถึง 200 มิลลิวินาที ซึ่งช้ากว่าของฮาร์ดดิสก์(ฮาร์ดดิสก์ทั่วไปจะใช้เวลาประมาณ 20 มิลลิวินาที)
บัฟเฟอร์(Buffer)
เครื่องซีดีรอมบางเครื่องจะมีบัฟเฟอร์อยู่ภายในเครื่อง บัฟเฟอร์เป็นหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องวีดีรอม ใช้สำหรับเก็บข้อมูลให้มีจำนวนมากพอก่อนที่จะส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ ตามปกติเครื่องซีดีรอมมีบัฟเฟอร์ขนาด 64 กิโลไบต์
ข้อดีของการมีบัฟเฟอร์คือ
1. ทำให้คอมพิวเตอร์ได้รับข้อมูลในอัตราคงที่
2. ทำให้เข้าถึงข้อมูลได้เร็วขึ้น
อินเตอร์เฟช(Interface)
อินเตอร์เฟชสำหรับเครื่องซีดีรอมใช้สำหรับการต่อสายสัญญาณระหว่างเครื่องซีดีรอมกับคอมพิวเตอร์ จึงมีความสำคัญสำหรับการถ่ายทอดข้อมูลจากเครื่องซีดีรอมไปยังคอมพิวเตอร์
- อินเตอร์เฟช SCSI (Small Computer System Interface)แบบมาตรฐาน หมายถึงการ์ดที่สามารถใช้กำลังมาตรฐานชุดเดียวกันกับอุปกรณ์เพิ่มเติมได้หลายชนิด การ์ดอะแด๊ปเตอร์เหล่านี้ทำให้ใช้อุปกรณ์ต่อเพิ่มได้หลายตัวโดยใช้การ์ดเพียงอันเดียว ทำให้ลดความยุ่งยากจากการเพิ่มการ์ดในกรณีที่มีอุปกรณ์ต่อเพิ่มใหม่ ด้วยข้อดีนี้ทำให้การ์ดแบบ SCSI เป็นที่นิยมในการต่ออุปกรณ์ต่อเพิ่ม เช่นการต่อเครื่องซีดีรอมกับคอมพิวเตอร์
- SCSI-2 และ ASPI SCSI แบบมาตรฐานจะมี่สามารถใช้งานกับอุปกรณ์ต่อพ่วงตัวอื่นที่มีจำหน่ายทีหลังได้ จึงต้องมีการปรับปรุงการ์ด SCSI-2 ซึ่งมีสิ่งปรับปรุงเพิ่มคือ
SCSI Fast มีความเร็วเป็นพิเศษ
SCSI Wide ขยายขนาดของบัสส่งข้อมูล ทำให้การถ่ายทอดข้อมูลผ่านการ์ดได้มากขึ้น
Scatter/Gather ทำให้การอ่านและการบันทึกข้อมูลมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ส่วน ASPI(Advance SCSI Programming Interface) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การพัฒนาไดร์ฟเวอร์สำหรับฮาร์ดแวร์ตามมาตรฐาน SCI ทำได้ง่ายขึ้นนอกจากข้อมูลทางเทคนิคแล้วการตัดสินใจซื้อเครื่องอ่านซีดีรอมต้องพิจารณาปัจจัยอื่นๆด้วยดังนี้
ปัจจัยที่ควรพิจารณานอกเหนือจากปัจจัยทางเทคนิคในการเลือกซื้อเครื่องซีดีรอม
ตัวเครื่อง
ฝุ่นจัดเป็นศรัตตรูร้ายสำหรับเครื่องซีดีรอม ผู้ผลิตบางรายป้องกันด้วยการแยกส่วนที่เป็นเลนส์ออกจากส่วนที่ใช้ใส่ซีดี บางรายอาจมีช่องกักฝุ่นสองช่องทั้งทางเข้าและทางออกอุปกรณ์เหล่านี้มีส่วนช่วยยืดอายุของเครื่องได้
แคดดี้เป็นอุปกรณ์สำหรับใส่ซีดีรอมการใช้แคดดี้มีทั้งข้อดีและข้อเสีย
- เครื่องที่ไม่มีแคดดี้ จะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการใส่ซีดีในแคดดี้ก่อนใส่ซีดีเข้าเครื่อง แต่มีข้อควรระวังอยู่สองประการคือ ต้องแน่ใจว่าส่วนที่เป็นลิ้นชักของเครื่องที่ใช้สำหรับใส่ซีดีนั้นสะอาดไม่มีฝุ่น และถ้าหากกลไกของลิ้นชักเสียต้องส่งเครื่องซีดีรอมเข้าซ่อมทั้งเครื่อง
- เครื่องที่มีแคดดี้ ข้อเสียคือจะทำให้เสียเวลาในการนำซีดีเข้าออก ข้อดีคือทำความสะอาดได้ง่ายและเมื่อแคดดี้ชำรุดก็เปลี่ยนใหม่ได้
ระบบทำความสะอาดเลนส์โดยอัตโนมัติ
ปัจจุบันเครื่องซีดีรอมบางรุ่นมีการติดตั้งกลไกทำความสะอาดเลนส์โดยอัตโนมัติ ถ้าไม่ค่อยมีเวลาทำความสะอาดควรพิจารณาเครื่องที่มีระบบทำความสะอาดเลนส์โดยอัตโนมัติ
เครื่องแบบติดตั้งภายในกับเครื่องต่อพ่วง
หากมีพื้นที่ทำงานบนโต๊ะทำงานและมีอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นก็ควรซื้อเครื่องซีดีรอมแบบต่อพ่วงเพราะจะสามารถย้ายได้และสามารถต่อกับคอมพิวเตอร์ได้หลายเครื่อง แต่หากไม่ค่อยมีพื้นที่ว่างบนโต๊ะทำงานและมีอุปกรณ์ภายในที่ใช้อะแด๊ปเตอร์อยู่แล้วก็ควรใช้แบบติดตั้งในเครื่อง
สัปดาห์ที่ 11 คีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์)
คียบอร์ด หรือ แป้นพิมพ์ (ศัพท์บัญญัติใช้ว่า แผงแป้นอักขระ) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทุกเครื่องจำเป็นต้องมี เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนำข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยปกติมักจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือใกล้เคียง มีแป้นต่างๆ ประมาณร้อยแป้นอยู่บนคีย์บอร์ด (ขึ้นอยู่กับผังแป้นพิมพ์) ซึ่งถอดแบบมาจากเครื่องพิมพ์ดีด ออกแบบมาเพื่อใช้สำหรับรับข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ แล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต จากนั้นจึงส่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล หรือใช้ควบคุมฟังก์ชันการทำงานบางอย่างของคอมพิวเตอร์ และเพื่อให้การป้อนข้อมูลที่เป็นอักขระและตัวเลขทำได้ง่ายและสะดวกขึ้น คีย์บอร์ดจึงแยกแผงที่เป็นแป้นอักขระกับแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก
ประวัติ
คีย์บอร์ดของไมโครคอมพิวเตอร์ตระกูล IBM ในรุ่นแรกๆ ประมาณปี ค.ศ. 1981 จะมีแป้นทั้งหมด 83 แป้น ซึ่งมีชื่อเรียกว่า คีย์บอร์ด PC-X และในปี ค.ศ. 1984 ก็ได้พัฒนาแป้นพิมพ์เพิ่มขึ้นเป็น 84 แป้นพิมพ์มีชื่อเรียกว่า คีย์บอร์ด PC-AT ต่อจากนั้นก็ได้พัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ ตามความต้องการของผู้ใช้เรียกว่า คีย์บอร์ด AT และพัฒนามาเป็นรุ่น PS/2 โดยมีแป้นพิมพ์เพิ่มขึ้นอีก 17 แป้นพิมพ์รวมแล้วก็เป็น 101 แป้นพิมพ์
ประวัติ
คีย์บอร์ดของไมโครคอมพิวเตอร์ตระกูล IBM ในรุ่นแรกๆ ประมาณปี ค.ศ. 1981 จะมีแป้นทั้งหมด 83 แป้น ซึ่งมีชื่อเรียกว่า คีย์บอร์ด PC-X และในปี ค.ศ. 1984 ก็ได้พัฒนาแป้นพิมพ์เพิ่มขึ้นเป็น 84 แป้นพิมพ์มีชื่อเรียกว่า คีย์บอร์ด PC-AT ต่อจากนั้นก็ได้พัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ ตามความต้องการของผู้ใช้เรียกว่า คีย์บอร์ด AT และพัฒนามาเป็นรุ่น PS/2 โดยมีแป้นพิมพ์เพิ่มขึ้นอีก 17 แป้นพิมพ์รวมแล้วก็เป็น 101 แป้นพิมพ์
ฮาร์ดดิส
HARDDISK
คอมพิวเตอร์มีส่วนที่สำคัญคือ ส่วนประมวลผล ส่วนรับข้อมูล และก็ส่วนแสดงผล แต่ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลมาประมวลผลก็ต้องมีข้อมูล ซึ่งข้อมูลนั้นจะต้องถูกนำมาจากที่แห่งหนึ่งนั้นก็คือส่วนที่เรียกว่า Storage ซึ่งคอมพิวเตอร์ในยุคแรกจะเป็นกระดาษที่เป็นรู ซึ่งใช้งานยาก จากนั้นได้พัฒนามาใช้ แผ่นพลาสติกที่เครื่องด้วยสารแม่เหล็ก ที่เรียกว่า Diskette ต่อมาเมื่อข้อมูลมากขึ้นจำนวนการเก็บข้อมูลก็มากขั้นทำให้การเก็บข้อมูลลงบนแผ่น Diskette นั้นไม่เพียงพอ ต่อมาก็ทำการพัฒนามาเป็น Hard Disk ในปัจจุบัน
ระบบของ Hard disk ต่างจากแผ่น Diskette โดยจะมีจำนวนหน้าในการเก็บข้อมูลมากกว่า 2 หน้า ในการเก็บข้อมูลของ Hard Disk นั้นก็ไม่ต่างกับการเก็บข้อมูลลงบน Diskette ทั่วไปมากนัก Hard Disk ส่วนใหญ่ประกอบด้วยแผ่นจานแม่เหล็กมากกว่า 2แผ่นเรียงกันอยู่บนแกน Spindle
ทำให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อมๆกัน Hard Disk ใช้หัวอ่านเพียงหัวเดียวในการทำงาน ทั้งอ่านและเขียนข้อมูล ในการเขียนข้อมูลหัวอ่านจะได้รับกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าสู่คอยล์ของหัวอ่าน เพื่อรับข้อมูล เป็นการแปลงความหนาแน่นของสารแม่เหล็กที่เคลือบอยู่บน Disk ออกมาให้กับ CPU เพื่อทำการประมวลผล ส่วนการเก็บข้อมูล จะเก็บอยู่ในรูปแบบของสัญญาณดิจิตอล โดยเก็บเป็นเลขฐาน 2 คือ 0 และ 1 การเก็บข้อมูลจะเริ่ม
Seek Time
เป็นระยะเวลาที่แกนยืดหัวอ่านเขียน Hard Disk เคลื่อนหัวอ่านเขียนไประหว่างแทร็คของข้อมูลบน Hard Disk ซึ่งในปัจจุบัน Hard Disk จะมีแทร็คข้อมูลอยู่ประมาณ 3,000 แทร็คในแต่ละด้านของแพล็ตเตอร์ ขนาด 3.5 นิ้ว ความสามารถในการเคลื่อนที่ จากแทร็คที่อยู่ไปยังข้อมูลในบิตต่อไป อาจเป็นการย้ายตำแหน่งไปเพียง อีกแทร็คเดียวหรืออาจย้ายตำแหน่งไปมากกว่า 2,999 แทร็คก็เป็นได้ Seek time จะวัดโดยใช้หน่วยเวลาเป็น มิลลิเซก (ms) ค่าของ Seek time ของการย้ายตำแหน่งของแขนยึดหัวอ่านเขียน ไปในแทร็คถัดไปในแทร็คที่ อยู่ติดๆกันอาจใช้เวลาเพียง 2 ms ในขณะที่การย้ายตำแหน่งจากแทร็คที่อยู่นอกสุดไปหาแทร็คที่อยู่ในสุด หรือ ตรงกันข้ามจะต้องใช้เวลามากถึงประมาณ 20 ms ส่วน Average seek time จะเป็นค่าระยะเวลาเฉลี่ย ในการย้ายตำแหน่ง ของหัวเขียนอ่านไปมาแบบสุ่ม (Random) ในปัจจุบันค่า Average seek time ของ Hard Disk จะอยู่ ในช่วงตั้งแต่ 8 ถึง 14 ms แม้ว่าค่า seek จะระบุเฉพาะคุณสมบัติในการทำงานเพียง ด้านกว้างและยาวของ แผ่นดิสก์ แต่ค่า Seek time มักจะถูกใช้ในการเปรียบเทียบ คุณสมบัติทางด้านความ เร็วของ Hard Disk ปกติจะเรียกรุ่นของ Hard Disk ตามระดับความเร็ว Seek ค่า Seek time ยังไม่สามารถแสดงให้ประสิทธิภาพทั้งหมดของ Hard Disk ได้ จะแสดงให้เห็นเพียงแต่การค้นหาข้อมูลในแบบสุ่ม ของตัว Drive เท่านั้น ไม่ได้แสดงในแง่ของ การอ่านข้อมูลแบบเรียงลำดับ (sequential)
Cylinder Switch Time
เวลาในการสลับ Cylinder สามารถเรียกได้อีกแบบว่าการสลับแทร็ค (track switch) ในกรณีนี้แขนยึดหัวอ่านเขียนจะวางตำแหน่งของหัวอ่านเขียนอยู่เหนือ Cylinder ข้อมูลอื่น ๆ แต่มีข้อแม้ว่า แทร็คข้อมูลทั้งหมดจะต้องอยู่ใน ตำแหน่งเดียวกันของแพล็ตเตอร์อื่น ๆ ด้วย เวลาในการสลับระหว่าง Cylinder จะวัดด้วยระยะเวลาเฉลี่ยที่ตัว ไดร์ฟใช้ในการสลับจาก Cylinder หนึ่งไปยัง Cylinder อื่น ๆ เวลาในการสลับ Cylinder จะวัดด้วยหน่วย ms
Head Switch Time
เป็นเวลาสลับการทำงานของหัวอ่านเขียน แขนยึด หัวอ่านเขียนจะเคลื่อนย้ายหัวอ่านเขียนไปบนแพล็ตเตอร์ที่อยู่ในแนวตรงกัน หัวอ่านเขียนเพียงหัวเดียวทำหน้าที่อ่านหรือบันทึกข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ระยะเวลาในการสลับกันทำงานของหัวอ่านเขียนจะวัดด้วยเวลาเฉลี่ยที่ตัวไดร์ฟใช้สลับ ระหว่างหัวอ่านเขียน สองหัวในขณะ อ่านบันทึกข้อมูล เวลาสลับหัวอ่านเขียนจะวัดเป็นหน่วย ms
Rotational Latency
เป็นช่วงเวลาที่คอยการหมุนของแผ่นดิสก์ภายในการหมุนภายใน Hard Disk เกิดขึ้นเมื่อหัวอ่านเขียนวางตำแหน่งอยู่เหนือแทร็คข้อมูลที่เหมาะสม ระบบการทำงานของหัวอ่านเขียนข้อมูลจะรอให้ตัวไดร์ฟ หมุนแพล็ตเตอร์ไปยังเซ็กเตอร์ที่ถูกต้อง ช่วงระยะเวลาที่รอคอยนี้เองที่ถูกเรียกว่า Rotational Latency ซึ่งจะวัดเป็นหน่วย ms แต่ระยะเวลาก็ขึ้นอยู่กับ RPM (จำนวนรอบต่อนาที)
การควบคุม Hard Disk
Hard Disk จะสามารถทำงานได้ต้องมีการควบคุมจาก CPU โดยจะมีการส่งสัญญาณการใช้งานไปยัง Controller Card ซึ่ง Controller Card แบ่งออกได้ประมาณ 5 ชนิด ซึ่งจะกล่าวถึงเพียง 3 ชนิดที่ยังคงมีและใช้อยู่ในปัจจุบัน
IDE (Integrated Drive Electronics)
ระบบนี้มีความจุใกล้เคียงกับแบบ SCSI แต่มีราคาและความเร็วในการขนย้ายข้อมูลต่ำกว่า ตัวควบคุม IDE ปัจจุบันนิยมรวมอยู่ใน
แผงตัวควบคุม
SCSI (Small Computer System Interface)
เป็น Controller Card ที่มี Processor อยู่ในตัวเองทำให้เป็นส่วนเพิ่มขยายกับแผงวงจรใหม่ ใช้ควบคุมอุปกรณ์เสริมอื่นที่เป็นระบบ SCSI ได้ เช่น Modem CD-ROM Scanner และ Printer ใน Card หนึ่งๆจะสนับสนุนการต่ออุปกรณ์ได้ถึง 8 ตัว
Serial ATA (Advanced Technology Attachment)
เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC Expo ใน New York ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากที่มีการนำเสนอ Parallel ATA มากว่า 20 ปี รวมถึงเทคโนโลยีอื่นๆที่ทำให้การอ่านข้อมูลได้เร็วขึ้น วันนี้บริษัท Intel Seagate และบริษัทอื่นๆ คอยช่วยกันพัฒนาให้เกิดเทคโนโลยี Serial ATA ขึ้นมาแทนที่
Serial ATA มีความเร็วในเข้าถึงข้อมูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที และให้ผลตอบสนองในการทำงานได้เร็วมากในส่วนของ extreme application เช่น Game Home Video และ Home Network Hub มีจำนวน pin น้อยกว่า Parallel ATA
Serial ATA II ของทาง Seagate คาดว่าจะออกวางตลาดภายในปี 2546 และจะทำงานได้กับ Serial ATA 1.0 ทั้งทางด้าน products และ maintain software
การบำรุงรักษา
การ Defrag ซึ่งก็คือการจัดเรียงข้อมูลใน Hard Disk เสียใหม่เพื่อให้ Hard Disk ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ทุกครั้งที่เราเขียนข้อมูล ไม่ว่าจะด้วยการติดตั้งโปรแกรมใหม่ หรือว่าใช้คำสั่ง Save จากโปรแกรมใดๆ ก็ตาม หรือการ Download ข้อมูล Program จาก Internet รวมไปถึงการ Copy ข้อมูลลงไปใน Hard Disk นั้น สิ่งที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ต้องสั่งให้ Hard Disk ทำคือ เขียนข้อมูลเหล่านั้นลงไปบนพื้นที่ว่างบน Hard Disk ซึ่งการเขียนข้อมูลของ Hard Disk นั้นจะไม่เหมือนกับการเขียนข้อมูลในหนังสือหรือกระดาษอย่างที่เราทำกัน แต่โครงสร้างของ Drive จะแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ เป็นบล็อกอย่างที่เรารู้จักกันคือ Cluster ในการเขียนข้อมูลนั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องเข้าไปจองพื้นที่เป็น Cluster โดยที่ไม่สนใจว่าจะใช้เต็มพื้นที่หรือไม่ ถ้าข้อมูลมีขนาดใหญ่เกินไปก็จะใช้พื้นที่หลายๆ Cluster ซึ่งจะว่าไปแล้วในตอนแรกนั้นข้อมูลก็ยังคงจะเรียงกันอย่างเป็นระเบียบอยู่อย่างที่ควรจะเป็น แต่ว่าเมื่อมีการใช้งานหนักเข้าเรื่อยๆ โดยเฉพาะ Application ต่างๆ บนวินโดวส์จำเป็นต้องมีการเปิด File หลายๆ File พร้อมกัน รวมทั้งมีการเขียนและลบ File บ่อยๆ จะทำให้ข้อมูลกระจายออกไป
คอมพิวเตอร์มีส่วนที่สำคัญคือ ส่วนประมวลผล ส่วนรับข้อมูล และก็ส่วนแสดงผล แต่ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลมาประมวลผลก็ต้องมีข้อมูล ซึ่งข้อมูลนั้นจะต้องถูกนำมาจากที่แห่งหนึ่งนั้นก็คือส่วนที่เรียกว่า Storage ซึ่งคอมพิวเตอร์ในยุคแรกจะเป็นกระดาษที่เป็นรู ซึ่งใช้งานยาก จากนั้นได้พัฒนามาใช้ แผ่นพลาสติกที่เครื่องด้วยสารแม่เหล็ก ที่เรียกว่า Diskette ต่อมาเมื่อข้อมูลมากขึ้นจำนวนการเก็บข้อมูลก็มากขั้นทำให้การเก็บข้อมูลลงบนแผ่น Diskette นั้นไม่เพียงพอ ต่อมาก็ทำการพัฒนามาเป็น Hard Disk ในปัจจุบัน
ระบบของ Hard disk ต่างจากแผ่น Diskette โดยจะมีจำนวนหน้าในการเก็บข้อมูลมากกว่า 2 หน้า ในการเก็บข้อมูลของ Hard Disk นั้นก็ไม่ต่างกับการเก็บข้อมูลลงบน Diskette ทั่วไปมากนัก Hard Disk ส่วนใหญ่ประกอบด้วยแผ่นจานแม่เหล็กมากกว่า 2แผ่นเรียงกันอยู่บนแกน Spindle
ทำให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อมๆกัน Hard Disk ใช้หัวอ่านเพียงหัวเดียวในการทำงาน ทั้งอ่านและเขียนข้อมูล ในการเขียนข้อมูลหัวอ่านจะได้รับกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าสู่คอยล์ของหัวอ่าน เพื่อรับข้อมูล เป็นการแปลงความหนาแน่นของสารแม่เหล็กที่เคลือบอยู่บน Disk ออกมาให้กับ CPU เพื่อทำการประมวลผล ส่วนการเก็บข้อมูล จะเก็บอยู่ในรูปแบบของสัญญาณดิจิตอล โดยเก็บเป็นเลขฐาน 2 คือ 0 และ 1 การเก็บข้อมูลจะเริ่ม
Seek Time
เป็นระยะเวลาที่แกนยืดหัวอ่านเขียน Hard Disk เคลื่อนหัวอ่านเขียนไประหว่างแทร็คของข้อมูลบน Hard Disk ซึ่งในปัจจุบัน Hard Disk จะมีแทร็คข้อมูลอยู่ประมาณ 3,000 แทร็คในแต่ละด้านของแพล็ตเตอร์ ขนาด 3.5 นิ้ว ความสามารถในการเคลื่อนที่ จากแทร็คที่อยู่ไปยังข้อมูลในบิตต่อไป อาจเป็นการย้ายตำแหน่งไปเพียง อีกแทร็คเดียวหรืออาจย้ายตำแหน่งไปมากกว่า 2,999 แทร็คก็เป็นได้ Seek time จะวัดโดยใช้หน่วยเวลาเป็น มิลลิเซก (ms) ค่าของ Seek time ของการย้ายตำแหน่งของแขนยึดหัวอ่านเขียน ไปในแทร็คถัดไปในแทร็คที่ อยู่ติดๆกันอาจใช้เวลาเพียง 2 ms ในขณะที่การย้ายตำแหน่งจากแทร็คที่อยู่นอกสุดไปหาแทร็คที่อยู่ในสุด หรือ ตรงกันข้ามจะต้องใช้เวลามากถึงประมาณ 20 ms ส่วน Average seek time จะเป็นค่าระยะเวลาเฉลี่ย ในการย้ายตำแหน่ง ของหัวเขียนอ่านไปมาแบบสุ่ม (Random) ในปัจจุบันค่า Average seek time ของ Hard Disk จะอยู่ ในช่วงตั้งแต่ 8 ถึง 14 ms แม้ว่าค่า seek จะระบุเฉพาะคุณสมบัติในการทำงานเพียง ด้านกว้างและยาวของ แผ่นดิสก์ แต่ค่า Seek time มักจะถูกใช้ในการเปรียบเทียบ คุณสมบัติทางด้านความ เร็วของ Hard Disk ปกติจะเรียกรุ่นของ Hard Disk ตามระดับความเร็ว Seek ค่า Seek time ยังไม่สามารถแสดงให้ประสิทธิภาพทั้งหมดของ Hard Disk ได้ จะแสดงให้เห็นเพียงแต่การค้นหาข้อมูลในแบบสุ่ม ของตัว Drive เท่านั้น ไม่ได้แสดงในแง่ของ การอ่านข้อมูลแบบเรียงลำดับ (sequential)
Cylinder Switch Time
เวลาในการสลับ Cylinder สามารถเรียกได้อีกแบบว่าการสลับแทร็ค (track switch) ในกรณีนี้แขนยึดหัวอ่านเขียนจะวางตำแหน่งของหัวอ่านเขียนอยู่เหนือ Cylinder ข้อมูลอื่น ๆ แต่มีข้อแม้ว่า แทร็คข้อมูลทั้งหมดจะต้องอยู่ใน ตำแหน่งเดียวกันของแพล็ตเตอร์อื่น ๆ ด้วย เวลาในการสลับระหว่าง Cylinder จะวัดด้วยระยะเวลาเฉลี่ยที่ตัว ไดร์ฟใช้ในการสลับจาก Cylinder หนึ่งไปยัง Cylinder อื่น ๆ เวลาในการสลับ Cylinder จะวัดด้วยหน่วย ms
Head Switch Time
เป็นเวลาสลับการทำงานของหัวอ่านเขียน แขนยึด หัวอ่านเขียนจะเคลื่อนย้ายหัวอ่านเขียนไปบนแพล็ตเตอร์ที่อยู่ในแนวตรงกัน หัวอ่านเขียนเพียงหัวเดียวทำหน้าที่อ่านหรือบันทึกข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ระยะเวลาในการสลับกันทำงานของหัวอ่านเขียนจะวัดด้วยเวลาเฉลี่ยที่ตัวไดร์ฟใช้สลับ ระหว่างหัวอ่านเขียน สองหัวในขณะ อ่านบันทึกข้อมูล เวลาสลับหัวอ่านเขียนจะวัดเป็นหน่วย ms
Rotational Latency
เป็นช่วงเวลาที่คอยการหมุนของแผ่นดิสก์ภายในการหมุนภายใน Hard Disk เกิดขึ้นเมื่อหัวอ่านเขียนวางตำแหน่งอยู่เหนือแทร็คข้อมูลที่เหมาะสม ระบบการทำงานของหัวอ่านเขียนข้อมูลจะรอให้ตัวไดร์ฟ หมุนแพล็ตเตอร์ไปยังเซ็กเตอร์ที่ถูกต้อง ช่วงระยะเวลาที่รอคอยนี้เองที่ถูกเรียกว่า Rotational Latency ซึ่งจะวัดเป็นหน่วย ms แต่ระยะเวลาก็ขึ้นอยู่กับ RPM (จำนวนรอบต่อนาที)
การควบคุม Hard Disk
Hard Disk จะสามารถทำงานได้ต้องมีการควบคุมจาก CPU โดยจะมีการส่งสัญญาณการใช้งานไปยัง Controller Card ซึ่ง Controller Card แบ่งออกได้ประมาณ 5 ชนิด ซึ่งจะกล่าวถึงเพียง 3 ชนิดที่ยังคงมีและใช้อยู่ในปัจจุบัน
IDE (Integrated Drive Electronics)
ระบบนี้มีความจุใกล้เคียงกับแบบ SCSI แต่มีราคาและความเร็วในการขนย้ายข้อมูลต่ำกว่า ตัวควบคุม IDE ปัจจุบันนิยมรวมอยู่ใน
แผงตัวควบคุม
SCSI (Small Computer System Interface)
เป็น Controller Card ที่มี Processor อยู่ในตัวเองทำให้เป็นส่วนเพิ่มขยายกับแผงวงจรใหม่ ใช้ควบคุมอุปกรณ์เสริมอื่นที่เป็นระบบ SCSI ได้ เช่น Modem CD-ROM Scanner และ Printer ใน Card หนึ่งๆจะสนับสนุนการต่ออุปกรณ์ได้ถึง 8 ตัว
Serial ATA (Advanced Technology Attachment)
เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC Expo ใน New York ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากที่มีการนำเสนอ Parallel ATA มากว่า 20 ปี รวมถึงเทคโนโลยีอื่นๆที่ทำให้การอ่านข้อมูลได้เร็วขึ้น วันนี้บริษัท Intel Seagate และบริษัทอื่นๆ คอยช่วยกันพัฒนาให้เกิดเทคโนโลยี Serial ATA ขึ้นมาแทนที่
Serial ATA มีความเร็วในเข้าถึงข้อมูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที และให้ผลตอบสนองในการทำงานได้เร็วมากในส่วนของ extreme application เช่น Game Home Video และ Home Network Hub มีจำนวน pin น้อยกว่า Parallel ATA
Serial ATA II ของทาง Seagate คาดว่าจะออกวางตลาดภายในปี 2546 และจะทำงานได้กับ Serial ATA 1.0 ทั้งทางด้าน products และ maintain software
การบำรุงรักษา
การ Defrag ซึ่งก็คือการจัดเรียงข้อมูลใน Hard Disk เสียใหม่เพื่อให้ Hard Disk ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ทุกครั้งที่เราเขียนข้อมูล ไม่ว่าจะด้วยการติดตั้งโปรแกรมใหม่ หรือว่าใช้คำสั่ง Save จากโปรแกรมใดๆ ก็ตาม หรือการ Download ข้อมูล Program จาก Internet รวมไปถึงการ Copy ข้อมูลลงไปใน Hard Disk นั้น สิ่งที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ต้องสั่งให้ Hard Disk ทำคือ เขียนข้อมูลเหล่านั้นลงไปบนพื้นที่ว่างบน Hard Disk ซึ่งการเขียนข้อมูลของ Hard Disk นั้นจะไม่เหมือนกับการเขียนข้อมูลในหนังสือหรือกระดาษอย่างที่เราทำกัน แต่โครงสร้างของ Drive จะแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ เป็นบล็อกอย่างที่เรารู้จักกันคือ Cluster ในการเขียนข้อมูลนั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องเข้าไปจองพื้นที่เป็น Cluster โดยที่ไม่สนใจว่าจะใช้เต็มพื้นที่หรือไม่ ถ้าข้อมูลมีขนาดใหญ่เกินไปก็จะใช้พื้นที่หลายๆ Cluster ซึ่งจะว่าไปแล้วในตอนแรกนั้นข้อมูลก็ยังคงจะเรียงกันอย่างเป็นระเบียบอยู่อย่างที่ควรจะเป็น แต่ว่าเมื่อมีการใช้งานหนักเข้าเรื่อยๆ โดยเฉพาะ Application ต่างๆ บนวินโดวส์จำเป็นต้องมีการเปิด File หลายๆ File พร้อมกัน รวมทั้งมีการเขียนและลบ File บ่อยๆ จะทำให้ข้อมูลกระจายออกไป
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วิธีย่อรูป เป็นขนาดตามต้องการ โดยใข้โปรแกรม ACDSee
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)